แผนภูมิวงรอบเหตุและผล (Causal Loop Diagram : CLD)
แนวคิดแผนภูมิวงรอบเหตุและผล (Causal Loop Diagram
: CLD)
แผนภูมิวงรอบเหตุและผล CLD
จะทำให้มองเห็นความสัมพันธ์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่อาจจะเกิดขึ้นได้ประกอบด้วยหลายองค์ประกอบดังนี้
1. วงรอบการป้อนกลับ 1 วงรอบ หรือ มากกว่า
ซึ่งเป็นทั้งกระบวนการเสริมแรงและกระบวนการสร้างความสมดุล
2.
ความสัมพันธ์ของเหตุและผลกระทบระหว่างตัวแปรต่างๆ
3. ความหน่วงของเวลา(Delays)คือ มีปัญหา(input)เข้ามา
การวาดปัญหาออกมาเป็นแผนภูมิ
จะทำให้มองออกว่า อะไร Must
know อะไร Should know
S = Same หรือ + (Positive)
O = Opposite หรือ – (Negative)
R = Reinforcing Loop วงรอบเสริมแรง
B = Balancing Loop วงจรปรับสมดุล
S = Same หรือ + (Positive)
O = Opposite หรือ – (Negative)
R = Reinforcing Loop วงรอบเสริมแรง
B = Balancing Loop วงจรปรับสมดุล
วงรอบเสริมแรงจะขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน
“การเขียนผังเชิงระบบ”
(System Diagram/Casual loop)
(System Diagram/Casual loop)
1.กำหนด ประเด็นปัญหาหลักให้ชัดเจน (ที่เรื้อรังและเกิดซ้ำ)
และสำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหา – อาการของปัญหา และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.ระบุ “ตัวแปรที่สำคัญ” ที่เป็นส่วนทำการขับเคลื่อนความเป็นไปของเหตุการณ์
โดยระบุชื่อให้ชัดเจนใช้คำพูดเป็นกลางหรือที่เป็นบวก
3.ศึกษาพฤติกรรมโดยมองย้อนเวลาถึงสิ่งที่เกิดขึ้น
4.เขียนกราฟแสดงพฤติกรรมเทียบกับเวลา (BOT)
5.ทบทวนความสัมพันธ์ของตัวแปร
6.วาด ผังเชิงระบบ (System diagram)
“ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของวัยรุ่นไทย”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น